Acute
diarrhea : การถ่ายอุจจาระมากกว่า 3 ครั้ง ต่อวัน
หรือถ่ายอุจจาระเป็นมูกหรือเลือดอย่างน้อย 1 ครั้ง ในระยะเวลาน้อยกว่า 2 สัปดาห์
แบ่งประเภทเป็น
Non
– infectious diarrhea ได้แก่
1.
อาหารเป็นพิษ (food poisoning) ได้แก่
toxin จากกจุลชีพ เช่น
S.aureus, Bacillus cereus ,
C. perfringens ไม่ได้เกิดจากจุลชีพ
เช่น เห็ด , อาหารทะเล สารเคมี
2.
จากการอักเสบของอวัยวะในช่องท้อง เช่น Appendicitis ,
colitis , IBD
3.
การติดเชื้อทั่วไป เช่น Sepsis , Enteric
fever
4.
อื่น ๆ เช่น hyperthyroidism , IBS
In
factious diarrhea
มักมีอาการไข้
ท้องเสีย ตรวจพบเม็ดเลือดขาวและแดงในอุจจาระ
หรือตรวจพบจุลชีพที่เป็นสาเหตุในอุจจาระ แบ่งเป็น
1.
Non
– inflammatory diarrhea : ติดเชื้อในลำไส้เล็ก
จะถ่ายเป็นน้ำปริมาณมาก ไม่ค่อยปวดบิด ปวดท้องรอบ ๆสะดือ หรือทั่วๆไป มีไข้ต่ำ
ไม่มีหนาวสั่น
2.
Inflammatory
diarrhea : ติดเชื้อในลำไส้ใหญ่
มักจะมีการถ่ายอุจจาระเป็นมูกหรือเลือด ปริมาณไม่มาก
ถ่ายอุจจาระทีละนิดมีความรู้สึกถ่ายไม่สุด ปวดเบ่งเวลาถ่าย มักมีไข้สูง
และมีหนาวสั่นร่วมด้วย
การตรวจร่างกาย
เน้นตรวจ sign
ของ dehydration
ภาวะการขาดน้ำ
|
ปกติ
|
Mild
(<5%)
|
Moderate
(5-10%)
|
Severe
(>10%)
|
1.ความรู้สึกตัว
|
ปกติ
|
รู้สึกตัว
กระหายน้ำ
|
กระสับกระส่าย
|
ซึม
|
2.ความดันโลหิต
|
ปกติ
|
ปกติ
|
ลดลงหรือ
postural
hypotension
|
Shock
|
3.ชีพจร
|
ปกติ
|
เร็วเล็กน้อย
|
เร็ว
บ่อย
|
เร็ว
เบามาก
|
4.การหายใจ
|
ปกติ
|
ลดลงเล็กน้อย
|
เพิ่ม
|
Kussmual’s
|
5.skin turgor
|
ปกติ
|
ลดลงเล็กน้อย
|
ลดลง
|
ลดลงมาก
|
6.capillary
filling (วินาที)
|
0.8
|
0.8-15
|
1.5
– 3
|
>3
|
7.sunken eye ball
|
ไม่มี
|
ไม่มี
|
เล็กน้อย
|
ชัดเจน
|
8.Dry mucosa
|
ไม่มี
|
ไม่มี
|
เล็กน้อย
|
ชัดเจน
|
ผู้ตรวจสอบ ผู้อนุมัติ
....................... ........................ รหัส:CPG-PCT-SWL-012-00
(พญ.กาญจนาภรณ์ ถกลกิจสกุล) (นพ.กฤษณพงษ์ ชุมพล) วันที่
26 ธันวาคม 2555