แผนภูมิที่ 1
การตรวจเพื่อคัดกรองผู้ป่วยที่สงสัยว่าจะเป็นไข้เลือดออกที่ตึกผู้ป่วยนอก
ข้อบ่งชี้ในการรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล
1.
อ่อนเพลียมาก รับประทานอาหารและดื่มน้ำไม่ได้
หรืออาเจียนมาก
2.
มีเลือดออก
3.
มี WBC < 5,000 เซล/ลบ.มม. + มี lymphocytosis + มีplatelet ≤100,000
เซล/ลบ.มม. และผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลียรับประทานอาหารไม่ค่อยได้ มีอาเจียนมาก
(ผู้ป่วยบางรายที่มี WBCมากกว่า 5,000 เล็กน้อย และมี Platelet สูงกว่า 100,000 เล็กน้อย ควรได้รับการพิจารณารับไว้สังเกตอาการเช่นกัน)
4.
มี platelets < 100,000
เซล/ลบ.มม. และ/ หรือ Hct เพิ่มขึ้นจากเดิม
10 - 20%*
5.
ไข้ลงและอาการเลวลงหรืออาการไม่ดีขึ้น
6.
อาเจียนมาก หรือปวดท้องมาก
7. มีอาการช็อกหรือ
impending shock
- ไข้ลงและชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ
-
ตรวจระบบไหลเวียนของเส้นโลหิตฝอยที่บริเวณปลายมือปลายเท้าไม่ดี ตรวจโดยใช้นิ้วกดบริเวณปลายนิ้วมือ/นิ้วเท้าแล้วปล่อยทันที ถ้าระบบไหลเวียนไม่ดี บริเวณปลายนิ้วมือ/นิ้วเท้าที่ฃถูกกดจะยังคงซีดขาวอยู่เป็นเวลานานกว่า 2 วินาที (capillary refill> 2 วินาที)
- ตัวเย็นชื้น
เหงื่อออก ตัวลาย กระสับกระส่าย
- pulse pressure
< 20 mmHg. โดยไม่มี hypotension เช่น
100/80, 90/70 มม.ปรอท
- ความดันต่ำ
(ตามเกณฑ์อายุ)
- ปัสสาวะน้อยลงหรือไม่ปัสสาวะเป็นเวลานาน
4-6 ชั่วโมง
-
มีการเปลี่ยนแปลงของการรู้สติเช่น ซึม หรือเอะอะโวยวาย หรือพูดจาหยาบคาย
(ต้องนึกถึงว่าผู้ป่วยน่าจะมีอาการทางสมองร่วมด้วย)
8. ผู้ปกครองกังวลมาก หรือไม่สามารถติดตามดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดได้
หรือบ้านอยู่ไกล
* ถ้าไม่สามารถตรวจได้ พิจารณาให้
Vitamin K1, Ca, NaHCO3 ตามอาการทางคลินิก
** ตรวจเช็คผลทางห้องปฏิบัติการตาม*
และแก้ไขโดยด่วนถ้าผิดปกติ
ข้อบ่งชี้ว่าผู้ป่วยเข้าสู่ระยะฟื้นตัว
1.
อาการทั่วไปดีขึ้น เริ่มอยากรับประทานอาหาร
2.
V/S
stable HR ช้าลง ,Pulse pressure กว้าง
3.
Hct
ลดลงจนถึงระดับปกติ
4.
ปัสสาวะออกมากกว่า 1 – 2 ml/kg/hr
5.
Convalescence
rash ,คันบริเวณขา ,แขน ฝ่ามือ และเท้า
(ผื่นขึ้นแดงร่วมกับวงกลมสีขาวกระจาย)
ตรวจสอบ ผู้อนุมัติ
................................ ....................................... รหัส:CPG-PCT-SWL-006-00
(พญ.รัชนีวรรณ กงบุราน) (นพ.กฤษณพงษ์ ชุมพล) วันที่ 26 ธันวาคม 2555
นายแพทย์
ปฏิบัติการ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศรีวิไล