Dyspepsia
หมายถึง อาการปวดท้อง
เจ็บท้อง หรืออาการผิดปกติอื่น ๆ (แสบท้อง อืด จุกเสียด แน่นตึง ลม เฟ้อ
ที่บริเวณลิ้นปี่ หรือหน้าท้องช่วงบนเหนือสะดือ
ซึ่งไม่พบโรคทางกายที่เป็นสาเหตุของอาการ
วินิจฉัยแยกโรคอื่น
ๆ เช่น
1.
Gall
stone (นิ่วในถุงน้ำดี)
จะมีอาการเจ็บที่บริเวณลิ้นปี
หรือท้องด้านขวาบน เจ็บร้าวไปใต้สะบักไหล่ขวา เวลาเจ็บปวดจะคงอยู่นานประมาณ 15 –
60 นาที กว่าจะหาย มักสัมพันธ์กับการกินอาหารมื้อใหญ่ ๆ หรืออาหารมัน
2.
Cholecystitis
(ถุงน้ำดีอักเสบ)
จะมีอาการเจ็บที่ท้องด้านขวาบนหรือลิ้นปี
(RUQ
pain) มีไข้ ตรวจร่างกาย อาจพบ ตัวเหลือง ตาเหลืองได้เล็กน้อย Murphy’s
sign positive (กดท้องขวาบนแล้วผู้ป่วยเจ็บจนหายใจสะดุด)
3.
GERD
(Gastroesophageal reflux disease)
โรคกรดไหลย้อน
จะมีอาการแสบร้อนบริเวณลิ้นปี่ขึ้นมาบริเวณกลางอกหรือต้นคอ (Heartburn) หรือมีอาการเรอ มีน้ำกรดเปรี้ยว ๆ แสบขมย้อนขึ้นมาในลำคอ (acid
regurgitation) เป็นอาการเด่นมักจะเกิดในท่านอน
4.
IBS
(Irritable bowel syndrome)
อาการลำไส้แปรปรวน
มักมีอาการปวดหรืออึดอัด ไม่สบายท้องเป็นอย่างน้อย 2 ใน 3 อาการต่อไปนี้
1.)
อาการปวดหรืออึดอัดไม่สบายท้อง
ดีขึ้นด้วยอาการถ่ายอุจจาระ
2.)
ความถี่ของการถ่ายอุจจาระที่เปลี่ยนไป
3.)
ลักษณะของอุจจาระที่เปลี่ยนไป เช่น
ถ่ายเป็นก้อนแข็งกว่าปกติหรือถ่ายเป็นมูก น้ำเหลว มากกว่า 3 ครั้ง/วัน
หรือน้อยกว่า 3 ครั้ง/อาทิตย์
การซักประวัติ
-
บริเวณที่ปวดท้อง ปวดลักษณะแบบไหน ร้าวไปไหน
ระยะเวลาที่ปวด อาการปวดสัมพันธ์กับสิ่งใด ทำอะไรแล้วดีขึ้น / แย่ลง
รักษาอย่างไรมาแล้ว
-
ประวัติ Alarm features เช่น
น้ำหนักตัวลดลงผิดสังเกต เบื่ออาหารมาก ไข้ไม่ทราบสาเหตุ ถ่ายเป็นมูกเลือดปน
เป็นต้น ( Alarm Features ดังในตาราง)
-
ยาที่ใช้เป็นประจำ เน้นกลุ่ม ยาแก้ปวด NSAID ,ASA ,
Theophylline ,ACEI ,Colchicine ,Steroid
ยาหม้อ ยาต้ม ยาลูกกลอน
-
โรคประจำตัวและสุขนิสัย เช่น ดื่มเหล้า ,
สูบบุหรี่ ,กินข้าวไม่ตรงเวลา
ตรวจร่างกาย
- เน้นบทอาการแสดงที่อาจอธิบายสาเหตุของ
Dyspepsia
เช่น Anemia , Hepatomegaly ,Splenomegaly, Lymphadenopathy
,Abdominal mass , Jaundice ,Ascites เป็นต้น
Alarm features ลักษณะอาการเตือน
Symptoms
|
Signs
|
-
อายุ > 40 ปี
-
น้ำหนักตัวลดลงผิดสังเกต
(
>
5 % ใน 1 เดือน หรือ > 10 % ใน 3 เดือน)
-
เบื่ออาหารมาก
-
อาการไข้ไม่ทราบสาเหตุ
-
กลืนลำบาก (Dysphagia)
-
อาเจียนบ่อยครั้ง
-
ตื่นกลางดึกด้วยอาการ dyspepsia
-
ถ่ายอุจจาระดำหรือมีเลือดปน
-
การขับถ่ายอุจจาระเปลี่ยนไปจากเดิม
-
ซูบ ซีด โลหิตจาง
-
อาการปวดท้อง
หรือคลื่นไส้อาเจียนอย่างรุนแรง
-
Strong family of GE malignancy
|
-
Evidence of weight loss
-
Anemia
-
Icterus / jaundice
-
Cervical lymphadenopathy
-
Abdominal distension
-
Abdominal mass
-
Hepatomegaly
-
Ascites
-
Rectal mass
-
Blood –stained feces
-
Stool occult blood positive
|
การตรวจเพิ่มเติม
-
อาจส่ง CBC ,LFT ,stool exam , stool occult blood
หรือทำ Ultrasound abdomen , Upper GI study ,
Barium enema เพื่อวินิจฉัยแยกโรคอื่น ๆ
ถ้าคิดถึงโรคอื่น ๆ มากกว่า Dyspepsia ให้รักษาตามสาเหตุของโรคนั้น ๆ
-
หมายเหตุ
-
Advice
วิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยทุกราย เนื่องจาก Dyspepsia
มักเกิดจากพฤติกรรมการปฏิบัติตัว เช่น รับประทานอาหารให้ตรงเวลา ,
หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด ,หมักดอง , เหล้า ,บุหรี่ ไม่ควรซื้อยาแก้ปวดมากินเอง
เป็นต้น
-
แพทย์จะรักษาโดยยา Empiric treatment คือ การรักษาด้วยยา PPI (omeprazole),H2 blocker (Ranitidine) 2 – 4 wk ถ้าดีขึ้น
จะให้ยาต่อ 4 – 6 wk ถ้าอาการหายดีจะให้หยุดการรักษาได้
ถ้าไม่ดีขึ้น อาการเป็น ๆ หาย ๆ
มากกว่า 6 mo
ส่ง Refer ส่องกล้อง EGD
(esophagogastroduodenoscopy)-
S upportive treatment คือ
การรักษาตามอาการ เช่น ยาลดกรด PPI (proton pump inhibitor) เช่น
Omeprazole 40 mg v หรือ Omeprazole
(20mg) º ac ,H2 blocker antagonist เช่น Ranitidine 50 mg v หรือ Ramitidine (150
mg) º ac, (เด็กให้
dose 1 mg/kg ) ,ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน เช่น Plasil 1 amp v หรือ Domperidone 1 tab
º tid ac, ยาเคลือบกระเพาะ เช่น Alum milk 30 ml º , ยาขับลม เช่น Simethicone 1 tab pc หรือ M .carminative 30 ml
º tid pc หรือ ขมิ้นชัน แคปซูล 1 cap
º tid pc , ยาลดการบิดเกร็งในช่องท้อง
เช่น hyoscine (Buscopon) 1 amp m หรือ 1 tab tid pc
ผู้ตรวจสอบ ผู้อนุมัติ
.................................................. ...............................................
(พญ.กาญจนาภรณ์ ถกลกิจสกุล) (นพ.กฤษณพงษ์ ชุมพล) รหัส:CPG-PCT-SWL-015-00
นายแพทย์ ปฏิบัติการ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศรีวิไล วันที่
26 ธันวาคม 2555